วิกฤตในเวเนซูเอล่า อาจทำให้โรคระบาดในลาตินอเมริกากลับมาอีกครั้ง

วิกฤตการทางเศรษฐกิจในเวเนซุเอล่า ยังไม่คลี่คลายไปทางที่ดีเสียเท่าไหร่
กลายเป็นภาวะรัฐล้มเหลว
ผู้เชี่ยยชาญเตือนให้โรคระบาดในลาตินอเมริกา อย่างเช่นมาเรเลียและไข้เลือดออก จะกลับมาระบาดครั้งใหญ่เป็นประวัติการณ์จากล่มสลายของระบบสาธารณะสุขในเวนซุเอล่า
สถานะทางสาธารณสุขในแถบราตินอเมริกาจะไม่ได้ดีขึ้นขนาดนี้
หากไม่มีเวเนซุเอลา ที่ช่วยควบคุมการแพร่ระบาดของโรคอย่าง มาลาเรีย ซิก้า ไข้เลือดออก
ที่ฆ่าชีวิตผู้คนแถบนี้มาอย่างยาวนาน
เวเนซุเอลา เป็นผู้หัวเรือใหญ่ในการควบคุมโรคของภูมิภาคมาตลอดเวลามากกว่าหลายสิบปี การล้มสลายของระบบสาธารสุข ทำให้การปฎิการทางการแพทย์ต้องหยุดชะงักลง
รายงานของ Lancet
Infectious Diseases กล่าวว่านี้คือการสร้างภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
“เชื้อโรคเหล่านั้นได้แพร่กระจายไปสู่เพือนบ้านอย่างบราซิล โคลัมเบีย และจากการเดินทางทางอากาศและการอพยพผู้คน
ทำให้นำความเสี่ยงสู่ประเทศในแถบทะเลแคริเบียน”
มาลาเรียถูกจำกัดไปแทบจะไม่เหลือแล้วในประเทศเวเนซุเอลา ตั้งแต่ 50
กว่าปีที่แล้ว
แต่กลับมาพบมากขึ้นถึง 3 เท่านั้นช่วงวิกฤตการณ์ตอนปี 2010 ถึง 2015
เพิ่มขึ้นอีก
70% ในปี 2017 จากเพราะไม่มีการควบคุมยุงและขาดแคลนยาป้องกันโรคมาลาเรีย
การพุ่งขึ้นของมาลาเรียนมาพร้อมกันการทำเหมืองเถื่อน ในเขตป่าแถบชายแดนที่ติดต่อกับบราซิล
ที่เริ่มมีมากขึ้นมาหลังจากการล่มสลายทางเศรษฐกิจ ที่เป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุงอย่างดี
น้ำในเหมืองเป็นที่อาศัยชั้นดีของเหล่ายุงลาย การแพร่กระจายจึงเริ่มมาจากคนที่ทำงานเหมือง
ที่ต้องทนกับสภาวะไร้การดูแลทางการแพทย์ใดๆ
ในกรณีไวรัสซิกา หนึ่งในสาเหตุหลักของหัวใจล้มเหลวในคนลาตินอเมริกา
ก็ถูกคาดว่าจะมีการเพิ่มขึ้นของผู้ติดเชื้อ และในโลกไข้เลือกออกพบว่า มีการเป็นไข่เลือดออกมากขึ้นถึง
6 เท่าในระยะกว่า 10 ปีที่ผ่านมาด้วย